Page 1 of 7

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติ

การอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

พ.ศ. ๒๕๕๘

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ

ให้ประกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการอํานวยความสะดวกในการพิจารณา

อนุญาตของทางราชการ

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอม

ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวก

ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘”

มาตรา ๒๑

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่

วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่มาตรา ๑๗ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราช

กิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

มาตรา ๓ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับกับบรรดาการอนุญาต การจดทะเบียนหรือ

การแจ้งที่มีกฎหมายหรือกฎกําหนดให้ต้องขออนุญาต จดทะเบียน หรือแจ้ง ก่อนจะดําเนินการใด

บทบัญญัติของกฎหมายหรือกฎใดที่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ให้ใช้

พระราชบัญญัตินี้แทน

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทาง

ปกครอง

“อนุญาต” หมายความว่า การที่เจ้าหน้าที่ยินยอมให้บุคคลใดกระทําการใดที่มี

กฎหมายกําหนดให้ต้องได้รับความยินยอมก่อนกระทําการนั้น และให้หมายความรวมถึงการออก

ใบอนุญาต การอนุมัติการจดทะเบียน การขึ้นทะเบียน การรับแจ้ง การให้ประทานบัตรและการให้

อาชญาบัตรด้วย

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๔ ก/หน้า ๑/๒๒ มกราคม ๒๕๕๘

Couldn't preview file
There was a problem loading this page.

Page 2 of 7

- ๒ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

“ผู้อนุญาต” หมายความว่า ผู้ซึ่งกฎหมายกําหนดให้มีอํานาจในการอนุญาต

“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการ

อนุญาต

“กฎหมายว่าด้วยการอนุญาต” หมายความว่า บรรดากฎหมายที่มีบทบัญญัติ

กําหนดให้การดําเนินการใดหรือการประกอบกิจการใดจะต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะดําเนินการได้

“คําขอ” หมายความว่า คําขออนุญาต

มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่

(๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี

(๒) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดําเนินงานของเจ้าหน้าที่ใน

กระบวนการพิจารณาคดีการบังคับคดี และการวางทรัพย์

(๓) การดําเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

(๔) การอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(๕) การอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการทางทหารด้านยุทธการ รวมทั้งตาม

กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมยุทธภัณฑ์ และกฎหมายว่าด้วยโรงงานผลิตอาวุธของเอกชน

การยกเว้นไม่ให้นําบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับแก่การดําเนินกิจการ

ใดหรือกับหน่วยงานใดนอกจากที่กําหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๖ ทุกห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้อนุญาตพิจารณา

กฎหมายที่ให้อํานาจในการอนุญาตว่าสมควรปรับปรุงกฎหมายนั้นเพื่อยกเลิกการอนุญาตหรือจัดให้มี

มาตรการอื่นแทนการอนุญาตหรือไม่ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีความจําเป็นผู้อนุญาตจะพิจารณาปรับปรุง

กฎหมายหรือจัดให้มีมาตรการอื่นแทนในกําหนดระยะเวลาที่เร็วกว่านั้นก็ได้

ให้ผู้อนุญาตเสนอผลการพิจารณาตามวรรคหนึ่งต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา

ยกเลิกการอนุญาตหรือจัดให้มีมาตรการอื่นแทนการอนุญาต ในการนี้ให้คณะรัฐมนตรีรับฟังความ

คิดเห็นของคณะกรรมการพัฒนากฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบการ

พิจารณาด้วย

มาตรา ๗ ในกรณีที่มีกฎหมายกําหนดให้การกระทําใดจะต้องได้รับอนุญาต

ผู้อนุญาตจะต้องจัดทําคู่มือสําหรับประชาชน ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ

และเงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคําขอขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตและรายการเอกสาร

หรือหลักฐานที่ผู้ขออนุญาตจะต้องยื่นมาพร้อมกับคําขอ และจะกําหนดให้ยื่นคําขอผ่านทางสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์แทนการมายื่นคําขอด้วยตนเองก็ได้

คู่มือสําหรับประชาชนตามวรรคหนึ่งให้ปิดประกาศไว้ ณ สถานที่ที่กําหนดให้ยื่น

คําขอ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเมื่อประชาชนประสงค์จะได้สําเนาคู่มือดังกล่าว ให้

พนักงานเจ้าหน้าที่จัดสําเนาให้โดยจะคิดค่าใช้จ่ายตามควรแก่กรณีก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้ระบุ

ค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้ในคู่มือสําหรับประชาชนด้วย

ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตรวจสอบขั้นตอนและ

ระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตที่กําหนดตามวรรคหนึ่งว่าเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมตามหลักเกณฑ์

Page 3 of 7

- ๓ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา ส ํานักงํานคณะกรรมกํารกฤษฎีกํา

และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือไม่ ในกรณีที่เห็นว่าขั้นตอนและระยะเวลาที่กําหนดดังกล่าว

ล่าช้าเกินสมควรให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการให้ผู้อนุญาตดําเนินการแก้ไขให้

เหมาะสมโดยเร็ว

เพื่อประโยชน์ในการอํานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ให้ส่วนราชการจัดให้มี

ศูนย์บริการร่วมเพื่อรับคําขอและชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ ตามกฎหมายว่าด้วย

การอนุญาตไว้ณ ที่เดียวกันตามแนวทางที่คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกําหนด

มาตรา ๘ ให้เป็นหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่ในการรับคําขอจะต้อง

ตรวจสอบคําขอและรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ยื่นพร้อมคําขอให้ถูกต้องครบถ้วน หากเห็นว่าคําขอ

ไม่ถูกต้องหรือยังขาดเอกสารหรือหลักฐานใดให้แจ้งให้ผู้ยื่นคําขอทราบทันที ถ้าเป็นกรณีที่สามารถ

แก้ไขหรือเพิ่มเติมได้ในขณะนั้น ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคําขอดําเนินการแก้ไขหรือยื่นเอกสารหรือหลักฐาน

เพิ่มเติมให้ครบถ้วนถ้าเป็นกรณีที่ไม่อาจดําเนินการได้ในขณะนั้นให้บันทึกความบกพร่องและรายการ

เอกสารหรือหลักฐานที่จะต้องยื่นเพิ่มเติม พร้อมทั้งกําหนดระยะเวลาที่ผู้ยื่นคําขอจะต้องดําเนินการ

แก้ไขหรือยื่นเพิ่มเติมไว้ในบันทึกดังกล่าวด้วยและให้พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้ยื่นคําขอลงนามไว้ใน

บันทึกนั้น

ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มอบสําเนาบันทึกตามวรรคหนึ่งให้ผู้ยื่นคําขอไว้เป็นหลักฐาน

ในกรณีที่ผู้ยื่นคําขอได้จัดทําคําขอถูกต้องและแนบเอกสารหรือหลักฐานครบถ้วน

ตามที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนตามมาตรา ๗ แล้ว หรือได้แก้ไขหรือยื่นเอกสารหรือหลักฐาน

เพิ่มเติมครบถ้วนตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่แนะนําหรือตามที่ปรากฏในบันทึกตามวรรคหนึ่งแล้ว

พนักงานเจ้าหน้าที่จะเรียกเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติมอื่นใดอีกไม่ได้ และจะปฏิเสธการพิจารณาคําขอ

นั้นโดยอาศัยเหตุแห่งความไม่สมบูรณ์ของคําขอหรือความไม่ครบถ้วนของเอกสารหรือหลักฐานไม่ได้

เว้นแต่เป็นกรณีที่ความไม่สมบูรณ์หรือความไม่ครบถ้วนนั้นเกิดจากความประมาทเลินเล่อหรือทุจริต

ของพนักงานเจ้าหน้าที่ และเป็นผลให้ไม่อาจอนุญาตได้ในกรณีนี้ให้ผู้อนุญาตสั่งการตามที่เห็นสมควร

และให้ดําเนินการทางวินัยหรือดําเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยไม่ชักช้า

มาตรา ๙ ในกรณีที่ผู้ยื่นคําขอไม่แก้ไขเพิ่มเติมคําขอหรือไม่ส่งเอกสารหรือหลักฐาน

เพิ่มเติมตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งให้ทราบหรือตามที่ปรากฏในบันทึกที่จัดทําตามมาตรา ๘

วรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่คืนคําขอให้แก่ผู้ยื่นคําขอพร้อมทั้งแจ้งเป็นหนังสือถึงเหตุแห่งการคืน

คําขอให้ทราบด้วย

ผู้ยื่นคําขอจะอุทธรณ์คําสั่งคืนคําขอตามวรรคหนึ่ง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ

ราชการทางปกครองหรือจะยื่นคําขอใหม่ก็ได้ แต่ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้ต้องยื่นคําขอใดภายใน

ระยะเวลาที่กําหนดผู้ยื่นคําขอจะต้องยื่นคําขอนั้นใหม่ภายในระยะเวลาดังกล่าว

มาตรา ๑๐ ผู้อนุญาตต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ระบุไว้ใน

คู่มือสําหรับประชาชนตามมาตรา ๗ และแจ้งให้ผู้ยื่นคําขอทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่พิจารณา

แล้วเสร็จ

เมื่อครบกําหนดเวลาตามที่ระบุไว้ในคู่มือสําหรับประชาชนตามมาตรา ๗ แล้ว

หากผู้อนุญาตยังพิจารณาไม่แล้วเสร็จ ให้แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคําขอทราบถึงเหตุแห่งความล่าช้า