Page 1 of 5
แผนงานพื้นฐาน เลขที่งาน สสจ. 17
ผลผลิต/โครงการ
กจิกรรมหลัก
กจิกรรมรอง
วัตถปุ ระสงค์
เงื่อนไข 1) แผนปฏิบัตงิานครั้งที่ 1 นี้เป็นแผนปฏิบัตงิานชั่วคราวโดยให้ถือว่าเป็นสว่ นหนึ่งของแผนปฏิบัตงิานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
2) เมื่อไดร้ับแผนปฏิบัตงิานครั้งที่ 1 ให้หน่วยงานกระจายแผนปฏิบัตงิานในสว่ นของงานที่ด าเนินการและตวัชี้วัดให้สอดคลอ้งกับงบประมาณที่ไดร้ับจัดสรร
และระยะเวลาด าเนินการ 3 เดอืน (ตค. - ธค.64)
3) กรมไดก้ าหนดงานที่ท าด าเนินการไว้ในลกัษณะกว้าง ๆ หน่วยงานสามารถก าหนดกิจกรรมที่จะด าเนินการไดต้ามความเหมาะสม
ของแตล่ ะพื้นที่โดยกิจกรรมที่ด าเนินการตอ้งสง่ ผลให้เกิดผลสมัฤทธิ์ตามที่ปรากฎในตารางช่องผลสมัฤทธิ์จากการปฏิบัตงิาน
ระดับความส าเร็จ
กลุ่มเป้าหมาย
ด าเนินการ
ด้านการบริหารงาน งบประมาณและยุทธศาสตร์
1. การบริหารและก ากับการใช้จ่ายงบประมาณตามประเภทงบรายจ่ายและ ทุกงบรายจ่าย เบิกจ่ายงบประมาณไดถู้กตอ้ง
กิจกรรมหลกั รวมทั้งบริหารการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายและเงื่อนเวลา ตามแผนงาน ผลผลติ กิจกรรมหลกั
ที่กรมก าหนด และประเภทรายจ่าย
2. การปฏิบัตงิานตามภารกิจหลกัและบริหารงาน/โครงการ/กิจกรรม/
งานตามนโยบายที่ไดร้ับมอบหมาย ตามแนวทางตวัชี้วัดที่กรมก าหนดไว้
ในแผนปฏิบัตงิาน
ด้านการส่งเสริม พัฒนา และการก ากบัองค์กร
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไดร้ับการพัฒนาความเข้มแข็งตามศกัยภาพ สหกรณ์และ 1) สหกรณ์ที่ผา่ นมาตรฐานมีความเข้มแข็ง
ตามแผนการสง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งแผนงาน กลุ่มเกษตรกร ระดบั 1 และระดบั 2 รวมกันไม่น้อยกว่า
ประจ าปี/แผนธุรกิจของสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรที่ไดจ้ัดท าร่วมกันระหว่าง มีความเข้มแข็ง ร้อยละ 90
หน่วยงานและสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร ดงันี้ 2) กลุ่มเกษตรกรที่ผา่ นมาตรฐาน
1) การพัฒนาประสทิธิภาพในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/ - ไม่ต่ ากว่า มีความเข้มแข็ง ระดบั 1
กลุ่มเกษตรกร ระดบั มั่นคง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
ตามมาตรฐาน 3) สหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร
ที่น ามาจัดมาตรฐานผา่ นเกณฑ์
2) การแก้ไขปัญหาในการด าเนินกิจการ/การบริหารงานของสหกรณ/์ - ไม่มีข้อบกพร่องหรือ มาตรฐานของสหกรณ์หรือ
กลุ่มเกษตรกร มีแตไ่ดร้ับการแก้ไขแลว้ กลุ่มเกษตรกร ตามที่กรมก าหนด
3) การบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล/การควบคมุ ภายในของสหกรณ/์ มีชั้นคณุ ภาพ 4) สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร การควบคมุ ภายใน มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า
สงูกว่าระดบั พอใช้ ร้อยละ 3 ของปีที่ผา่ นมา
4) การด าเนินธุรกิจและการให้บริการแก่สมาชิกของสหกรณ์และ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 5) สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรผา่ นเกณฑ์
กลุ่มเกษตรกร ของจ านวนสมาชิก ธรรมาภิบาลในระดบั ที่กรมก าหนด
ไม่รวมสมาชิกสมทบ
สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ครั้งที่1)
(1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2564)
ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
ดา้นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไดร้ับการสง่ เสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศกัยภาพ
สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศกัยภาพ
เพื่อแนะน า สง่ เสริม สนับสนุน พัฒนาและก ากับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด
เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์จากการปฏิบัติงาน
ที่สอดคล้องตัวชี้วัดในแผนระดับ 3
ของกรม
ผลเบิกจ่าย
ร้อยละ 100
เมื่อสิ้นปีงบประมาณ
ร้อยละ 100
ของปริมาณงาน/
เป้าหมายที่รับผดิชอบ
ภารกิจและ
กิจกรรมที่ไดร้ับ
มอบหมาย
ทุกแห่ง
(ยกเว้นสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกร
ในพื้นที่โครงการ
พัฒนาพื้นที่
โครงการหลวง
และโครงการ
สง่ เสริม
การด าเนินงาน
อันเนื่องมาจาก
พระราชด าร)ิ
แผนงาน หนา้ที่ 1
Page 2 of 5
ระดับความส าเร็จ
กลุ่มเป้าหมาย
ด าเนินการ
5) การจัดตั้งสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรอย่างมีคณุ ภาพ ร้อยละ 100 6) สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร ปิดบัญชีได้
ภายใน 30 วัน
7) สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรที่พบการทุจริต
6) การจัดท างบการเงินและปิดบัญชีประจ าปีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 100 ไดร้ับการแก้ไขข้อบกพร่อง
ไดภ้ ายใน 30 วัน นับแตว่ ันสิ้นปีทางบัญชี 8) สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรด าเนินกิจการ
7) ผลการด าเนินงานของสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 มีผลประกอบการที่มีก าไร
ร้อยละ 100
9) การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถถอนชื่อได้ สถานะเลกิ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
ด้านการติดตามและสนับสนุนงานนโยบายที่ส าคัญ
1) ตดิตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่สหกรณ/์ มีการใช้ประโยชน์ ทุกแห่งที่ไดร้ับ
กลุ่มเกษตรกรไดร้ับการสนับสนุนงบประมาณจากกรม ตามวัตถุประสงคข์ อง สนับสนุน
โครงการทุกรายการ ทุกแห่งที่ไดร้ับ
สนับสนุน
2) ตดิตามงบประมาณเงินอุดหนุนที่สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรไดร้ับจากกรม เมื่อสิ้นสดุ โครงการแลว้
ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์กรณีเมื่อสิ้นสดุ โครงการแลว้ยังมีงบประมาณ ตอ้งไม่มีเงินคา้งบัญชี
คงเหลอืให้ด าเนินการตามระเบียบของทางราชการ
3) ตดิตามการด าเนินโครงการลกู หลานเกษตรกรกลบั บ้านสานตอ่ ด าเนินการตอ่ เนื่อง เกษตรกร
อาชีพเกษตร รุ่นใหม่
4) ตดิตามการด าเนินโครงการสง่ เสริมการด าเนินธุรกิจร้านคา้สหกรณ์ ด าเนินการตอ่ เนื่อง ทุกแห่ง
์ในรูปแบบซูปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการ
5) ตดิตามการด าเนินงานการสง่ เสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบสหกรณ์ ด าเนินการตอ่ เนื่อง ทุกแห่ง
และโครงการศนู ย์เรียนรู้การเพิ่มประสทิธิภาพการผลติสนิคา้เกษตร ที่เข้าร่วมโครงการ
1. ด้านการบริหารงานและงบประมาณ
1.1 บริหารงาน ประสานงาน และเข้าร่วมประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในรูปแบบปกติและการประชุมทางไกลผา่ นชุดอุปกรณ์Video Conference
1.2 เร่งรัดด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบกระทรวงการคลงัว่าดว้ยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ให้แลว้เสร็จ โดยก่อหนี้ผกู พัน
ให้แลว้เสร็จภายในไตรมาสที่ 1 รวมถึงก ากับ ตดิตามการจัดซื้อจัดจ้างที่ไดร้ับจัดสรรเพิ่มเตมิในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แลว้เสร็จตามสญั ญาที่ก าหนด
1.3 ด านินการประชาสมัพันธ์ความส าเร็จในการสง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ผา่ นช่องทางสื่อออนไลน์ในรูปแบบสื่อดจิิทัล/VTR
รวมทั้งสื่อประชาสมัพันธ์ในท้องถิ่น (วิทยุโทรทัศน์และหนังสอืพิมพ์)
ผลสัมฤทธิ์จากการปฏิบัติงาน
ที่สอดคล้องตัวชี้วัดในแผนระดับ 3
ของกรม
ตัวชี้วัด
เป้าหมาย
สหกรณ/์
กลุ่มเกษตรกร
ที่จัดตั้งใหม่
ทุกแห่ง
(ยกเว้นสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกร
ในพื้นที่โครงการ
พัฒนาพื้นที่
โครงการหลวง
และโครงการ
สง่ เสริม
การด าเนินงาน
อันเนื่องมาจาก
พระราชด าร)ิ
8) ตั้งแตว่ ันที่ 1 มกราคม 2565 เป็นตน้ ไป ไม่มีกรณีการทุจริตในสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร ที่เกิดก่อนปี2565
งานที่ด าเนินการ
แผนงาน หนา้ที่ 2
Page 3 of 5
2. ด้านการส่งเสริม พัฒนา และการก ากบัองค์กร
2.1 เข้าร่วมประชุมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในความรับผดิชอบเป็นประจ าทุกเดอืน ยกเว้น กรณีที่มีสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรในความรับผดิชอบจ านวนมาก
(เกินกว่า 100 แห่ง) ให้ร่วมประชุมให้ครบทุกแห่งอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือ 2 เดอืน/ครั้ง
2.2 สง่ เสริม แนะน า และก ากับการด าเนินกิจการของกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามข้อบังคบั ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการแก้ไขข้อบกพร่อง
ของสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร ที่รับผดิชอบครบทุกแห่ง
2.3 สง่ เสริม แนะน า พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง รักษาและยกระดบัชั้นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดย
1) รักษาระดบัชั้นสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในระดบัชั้น 1
2) ยกระดบัชั้นสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรจากระดบัชั้น 2 ไประดบัชั้น 1
3) ยกระดบัชั้นสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรจากระดบัชั้น 3 ไประดบัชั้น 2 หรือชั้น 1
2.4 สง่ เสริม แนะน าการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้แลว้เสร็จตามขั้นตอน และถอนชื่อได้
2.5 ตรวจสอบสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรทุกแห่งในความรับผดิชอบ หากพบว่าสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรใดมีการทุจริตหรือมีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต
หรือข้อบกพร่องร้ายแรง ให้รายงานข้อเท็จจริงพร้อมเอกสารประกอบในเบื้องตน้ เสนอนายทะเบียนสหกรณ/์นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร เพื่อพิจารณาสั่งการตอ่ ไป
ด าเนินการให้แลว้เสร็จก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2564 (ตามแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตในสหกรณ์ของส านักนายทะเบียนและกฎหมาย)
2.6 สง่ เสริม แนะน าการจัดตั้งสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรอย่างมีคณุ ภาพ โดยมีแผนธุรกิจและสามารถด าเนินกิจการให้เป็นผลดไีดภ้ ายใน 1 ปี
นับแตว่ ันที่จดทะเบียน
2.7 จัด/เข้าร่วมการประชุม/หารือ/ฝกึอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน และบุคลากรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งการให้ค าแนะน า /
ปรึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร ผา่ นช่องทางสื่อออนไลน์โดยใช้อุปกรณ์ประชุมทางไกลระบบ Video Conference
และครุภัณฑค์ อมพิวเตอร์
1) สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร
(1) จัดอบรมบุคลากรสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร คน/แห่ง/ครั้ง
(2) แนะน า สง่ เสริม/ชี้แจงให้แก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร คน/แห่ง/ครั้ง
2) บุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัด/ส านักงานสง่ เสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่1-2
(1) เข้าร่วมประชุม/ฝกึอบรมกับหน่วยงานสว่ นกลางและหน่วยงานอื่นๆ ครั้ง
(2) จัดประชุมบุคลากรภายในหน่วยงาน (ประชุมประจ าเดอืน) ครั้ง
2.8 แนะน า สง่ เสริม และร่วมกับสหกรณ์แม่ข่ายและสหกรณ์ลกูข่าย วางแผนและผลกัดนัให้เกิดการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ไดร้ับสนับสนุน
จากโครงการปรับโครงสร้างการผลติ การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรรองรับผลผลติทางการเกษตร รวมถึงสง่ เสริม แนะน า ผลกัดนั
การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างที่ไดร้ับการสนับสนุนจากกรมสง่ เสริมสหกรณ์ในโครงการตา่ ง ๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องโครงการ (ชนิดสนิคา้/ปริมาณ/มูลคา่ )
2.9 สง่ เสริม แนะน าและประชุมตดิตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด าเนินธุรกิจที่เกิดประโยชน์ตามความตอ้งการและมีสว่ นร่วมกับสมาชิก มีการใช้ประโยชน์
จากอุปกรณ์การตลาดอย่างเตม็ ประสทิธิภาพที่คุ้มคา่ ใช้จ่ายในการด าเนินงาน โดยมีรายไดท้ ี่คุ้มคา่ ใช้จ่ายในการด าเนินงาน
2.10 ตดิตามงานโดยก าหนดเป็นวาระตดิตามงานทั้งผลงานที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัตงิานและตวัชี้วัดในการประชุมประจ าเดอืนของหน่วยงานและสหกรณ์เป้าหมายที่เกี่ยวข้อง
2.11 จัดท าฐานข้อมูลเพื่อรองรับการปฏิบัตงิานและการสรุปรายงาน รวมทั้งมอบหมายผู้รับผดิชอบตรวจสอบความถูกตอ้งก่อนรายงานกรม
3. ด้านการติดตามและสนับสนุนงานนโยบายที่ส าคัญ
3.1 ตดิตาม แนะน า การด าเนินการและรายงานการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สนิ (อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้าง) ที่สหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร รวมถึงกลุ่มอาชีพ
ไดร้ับการสนับสนุนงบประมาณจากกรม
3.2 ตดิตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องโครงการ รวมถึงตดิตามงบประมาณเงินอุดหนุนให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร รวมถึงกลุ่มอาชีพที่สิ้นสดุ โครงการแลว้โดยพิจารณาจากรายงานของผู้สอบบัญชีประกอบดว้ย
3.3 ตดิตามและให้การสนับสนุนการด าเนินงานนโยบายส าคญั ในภารกิจของกรมสง่ เสริมสหกรณ์เช่น โครงการลกู หลานเกษตรกรกลบั บ้านสานตอ่ อาชีพเกษตร
และโครงการสง่ เสริมการด าเนินธุรกิจร้านคา้สหกรณ์ในรูปแบบซูปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์การสง่ เสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบสหกรณ์และโครงการศนู ย์เรียนรู้
การเพิ่มประสทิธิภาพการผลติสนิคา้เกษตร
4. ปฏิบัติราชการตามที่ได้รับมอบหมาย
หมายเหตุ : การส่งเสริมสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มอาชีพในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวงและโครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจาก
พระราชด าริให้ถอืปฏิบัติในแนวทางเดียวกนั
งานที่ด าเนินการ (ต่อ)
แผนงาน หนา้ที่ 3
Page 4 of 5
แผนงานพื้นฐาน
ผลผลิต/โครงการ
กิจกรรมหลัก
กิจกรรมรอง
เลขที่งาน สสจ. 17
รวม 365,200
1. งบด าเนินงาน 365,200
1.1 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 365,200
1.1.1 ส าหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานทั่วไป ค่าใช้จ่ายในงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 61,800
ตามศักยภาพทั้งทางด้านองค์กรและธุรกิจ และค่าใช้จ่ายการด าเนินงานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์
ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดและหน่วยงานในความรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วม/
จัดฝึกอบรม จัดงาน/โครงการที่ได้รับมอบหมาย โดยการปฏิบัติงานให้ค านึงถึงตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลักและผลสัมฤทธิ์ที่จะเกิดขึ้น
หลังจากการใช้จ่ายงบประมาณ (ถัวจ่าย)
1.1.2 ค่าจ้างเหมาและบริการ (ห้ามถัวจ่าย) 191,400
(1) ค่าจ้างเหมาพนักงานท าความสะอาด (ห้ามถัวจ่าย) 2 อัตรา 57,000
(2) ค่าจ้างเหมาพนักงานรักษาความปลอดภัย (ห้ามถัวจ่าย) 2 อัตรา 68,400
(3) ค่าจ้างเหมาพนักงานขับรถยนต์(ห้ามถัวจ่าย) 2 อัตรา 66,000
1.1.3 ค่าเช่าทรัพย์สิน -
(1) ค่าเช่าที่ดิน -
(2) ค่าเช่าอาคารที่ท าการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ -
1.1.4 ค่าสาธารณูปโภค (ห้ามถัวจ่าย) 62,000
(1) ค่าเช่าใช้บริการสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ห้ามถัวจ่าย) 12,000
1) สหกรณ์จังหวัด 3,000
2) ผู้อ านวยการกลุ่มงานวิชาการ/ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 9,000
(2) ค่าไฟฟ้า น าประปา โทรศัพท์และไปรษณีย์(ห้ามถัวจ่าย) 50,000
1.1.5 เงินส ารองจังหวัดส าหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดท าโครงการสร้างการรับรู้และวิธีการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการ 50,000
แบบมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาผลผลิตตกต่ าและสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยให้ด าเนินกิจกรรมของผู้บริหารระดับกระทรวง
และเมื่อคณะรัฐมนตรีเมื่อมีการลงพื้นที่ เพื่อรับทราบการรับรู้ของประชาชน รวมถึงแก้ปัญหาเชิงบูรณาการแบบมีส่วนร่วม
เพื่อแก้ไขปัญหาผลผลิตตกต่ าและสร้างมูลค่าเพิ่มระดับพื้นที่ (ห้ามถัวจ่าย)
เงอื่ นไขส าคัญ (โปรดท าความเข้าใจก่อนปฏิบัติงานและใช้จ่ายงบประมาณ)
1. แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยได้จัดสรรงบประมาณส าหรับเป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยงาน
ร้อยละ 25 ของงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส าหรับระยะเวลา 3 เดือน (1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2564)
ทั งนี ให้ถือใช้แผนปฏิบัติงานและงบประมาณนี เป็นส่วนหนึ่งของแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
2. เมื่อหน่วยงานได้รับโอนจัดสรรเงินประจ างวดแล้ว ให้วางแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับระยะเวลาและงานที่หน่วยงานจะต้องด าเนินการ
ในบริบทของแต่ละพื นที่ โดยให้มีผลสัมฤทธิ์ตามที่ปรากฎในหน้าแผนปฏิบัติงาน รวมทั งเบิกจ่ายให้เป็นไปตามแผนงาน ผลผลิตและกิจกรรมหลัก
3. ปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติงาน แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีพ.ศ. 2565
เพื่อให้กิจกรรม/โครงการบรรลุตามตัวชี วัดและวัตถุประสงค์
4. เมื่อหน่วยงานได้รับแผนปฏิบัติงานและงบประมาณไปแล้ว การอนุมัติเบิกจ่ายงบประมาณขึ นอยู่กับอ านาจหัวหน้าส่วนราชการในการบริหารงบประมาณ
ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 และหลักเกณฑ์ว่าด้วยการใช้งบประมาณรายจ่าย การโอนจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร
พ.ศ. 2562 โดยให้เป็นไปด้วยความโปร่งใส คุ้มค่าและประหยัด ค านึงถึงประโยชน์ที่ได้รับ ผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพในการด าเนินการ
ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ
งบประมาณ จ านวนเงิน
ประ (บาท)
เภทรายจ่าย/รายการ
ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
(1 ตุลาคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564)
ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ