Page 1 of 3

หน

า ๑

เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๔๕ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓

พระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓)

พ.ศ. ๒๕๕๓

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วนทั ี่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

เปนปที่ ๖๕ ในรัชกาลปจจุบนั

พระบาทสมเด

็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล

า ฯ

ใหประกาศวา

โดยที่เป

นการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาด

วยการศึกษาแหงชาติ

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล

า ฯ ให

ตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ

รัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓)

พ.ศ. ๒๕๕๓”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใช

บังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เป

นต

นไป

มาตรา ๓ ให

ยกเลิกความในมาตรา ๓๗ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก

ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

และใหใช

ความตอไปนี้แทน

Page 2 of 3

หน

า ๒

เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๔๕ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓

“มาตรา ๓๗ การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให

ยึดเขตพื้นที่การศึกษา

โดยคํานึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวนสถานศึกษา จํานวนประชากร วัฒนธรรม

และความเหมาะสมด

านอื่นด

วย เว

นแตการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายวาด

วยการอาชีวศึกษา

ให

รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของสภาการศึกษา มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา

กําหนดเขตพ้นทื ี่การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบงเป

นเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

ในกรณีที่สถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา

การกําหนดใหสถานศึกษาแหงนั้นอยูในเขตพื้นที่การศึกษาใด ให

ยึดระดับการศึกษาของสถานศึกษานั้น

เป

นสําคัญ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ในกรณีที่เขตพ้นทื ี่การศึกษาไมอาจบริหารและจัดการได

ตามวรรคหนึ่ง กระทรวงอาจจัดให

มี

การศึกษาขั้นพื้นฐานดังตอไปนี้เพื่อเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพื้นที่การศึกษาก

็ได

(๑) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา

อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ

(๒) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษา

ตามอัธยาศัย

(๓) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ

(๔) การจัดการศึกษาทางไกล และการจัดการศึกษาที่ให

บริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา”

มาตรา ๔ ให

เพิ่มความตอไปนี้เป

นวรรคห

าของมาตรา ๓๘ แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก

ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

“ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งในสวนที่เกี่ยวกับสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครอง

สวนท

องถิ่นวาจะอยูในอํานาจหน

าที่ของเขตพื้นที่การศึกษาใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีประกาศ

กําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน”

ผู

รับสนองพระบรมราชโองการ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

นายกรัฐมนตรี

Page 3 of 3

หน

า ๓

เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๔๕ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประกอบดวยการศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีระบบการบริหารและการจัดการศึกษา

ของทั้งสองระดับรวมอยูในความรับผิดชอบของแตละเขตพื้นที่การศึกษา ทําใหการบริหารและการจัดการศึกษา

ขั้นพื้นฐานเกิดความไมคลองตัวและเกิดปญหาการพัฒนาการศึกษา สมควรแยกเขตพื้นที่การศึกษาออกเปน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เพื่อใหการบริหารและการจัดการศึกษา

มีประสิทธิภาพ อันจะเปนการพัฒนาการศึกษาแกนักเรียนในชวงชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

ใหสัมฤทธิผลและมีคุณภาพยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้